ฉะนั้นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อย่างโน๊ตบุ๊ค, แท็บเล็ต หรือแม้กระทั่งสมาร์ทโฟนก็จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาเรื่องเทคโนโลยีเพื่อให้รองรับกับการใช้วีดีโอแชทแบบ 3D จากโปรแกรม Skype ในอนาคตด้วย แต่ Skype รูปแบบใหม่ไม่รู้ว่าตอนใช้งานต้องสวมแว่นตา 3D ไว้ด้วยตลอดรึเปล่า ...
วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556
ข่าว IT และเทคโนโลยี "Skype กำลังพัฒนาวีดีโอแชทแบบ 3D"
เนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปีของโปรแกรม Skype ผู้บริหารของไมโครซอฟท์ได้ออกมาให้ข้อมูลกับทาง BBC ว่า ขณะนี้บริษัทกำลังดำเนินการพัฒนาความสามารถของ Skype ให้รองรับการทำงานร่วมกับเทคโนโลยี 3D ซึ่งในตอนนี้ทีมงานได้มีการทดลองร่วมกับอุปกรณ์อย่างจอแสดงผลแบบ 3D กับกล้องวีดีโอจับภาพ 3D ไปบ้างแล้ว แต่อาจต้องใช้เวลาอีกหลายปีกว่าที่โปรแกรม Skype ที่รองรับวีดีโอแชทแบบ 3D จะพร้อมออกสู่ตลาด นอกจากนี้การที่ Skype 3D จะให้บริการวิดีโอแชทแบบ 3D ได้นั้น ตัวกล้องที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องมีประสิทธิภาพกว่าปกติเพื่อความแม่นยำในการตรวจจับตำแหน่งสำหรับการสร้างภาพ 3D ได้อย่างถูกต้อง
Review บทเพลงที่ชื่นชอบ..........เพลงรักครั้งแรก - จั๊ก ชวิน
เหตุผลที่ผมนำเพลงนี้มาแนะนำ : เพลงนี้เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์ "แฟนฉัน" ซึ่งได้กล่าวถึ งเด็กชายคนหนึ่งที่แอบรัก เด็กผู้หญิงคนหนึ่งที่อยู่ข้างบ้าน เป็นเพื่อนเล่นกันมาตั่งแต่เด็กๆ ซึ้งได้เที่ยวเล่นกัน หยอกล้อกัน พบเจอเรื่องราวต่างๆด้วยกัน ทำให้เกิดอาการรู้สึกดีๆ ต่อกัล จึงเกิดเป็นความรัก แต่ก้อไม่ได้มีฝ่ายใด ได้บอกความในใจไป.........
เนื้อเพลง+คอร์ดกีต้า
C แอบมองไปเจอ Am C เฉียบพลันนั้นเธอก็เหม่อมองสบสายตา Am C G เธอต้องอุราให้ฉันคิดรักเธอเลยแรกเราพบกัน C Am ใจตรงกับใจ สายตาที่บอก D G คิดยืนยันแนบรักเมื่อวันก่อน C * เกิดเป็นความรัก Am C ความรักเมื่อแรกเจอ Am G จิตใจละเมอติดยังฝังตรึง C ความรักมันเรียกร้อง Dm G ทุกเวลาให้ฝันถึงวันก่อน Dm G C อยากบอกเธอ รักครั้งแรก C จากวันเป็นเดือน Am C จิตยังฝังเตือนให้แอบพะวงถึงเธอ Am C G ไม่กล้าเสนอ ว่ารักเธอเปี่ยมล้นจนเต็มหัวใจ C Am วันคืนผ่านไป หัวใจเธอบอก D G รักจะมั่นแต่ฉัน ไม่กล้าเอ่ย (ซ้ำ *) C หวั่นใจเพียงใด Am C ไม่กล้าเผยคำพร่ำเอ่ยสุนทรวจี Am C G อัดอั้นเต็มทีจึงลองถามนิดว่าเธอรักใครรึยัง C Am คำเดียวที่คอย หวังเธอจะบอก D G รักเช่นกัน ต่างรักเมื่อวันก่อน (ซ้ำ *)
**ปล.เนื่่องจากผมฝึกกีต้าอยู่ เรยนำคอร์ด กีต้มาใส่ให้เพื่อมีใครจะฝึกครับ
วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
กฎของ moore's law คืออะไร
กฏของมัวร์ หรือ Moore's law คือ กฏที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ในระยะยาว มีความว่า จํานวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ในทุกๆสองปี Gordon E. Moore ผู้ก่อตั้ง Intel ซึ้งได้อธิบายแนวโน้มไว้ในรายงานของเขาในปี 1965 จึงพบว่ากฎนี้แม่นยํา อาจเกิดขึ้นเนื่องจาก อุตสาหกรรม semiconductor นํากฎนี้ไปเป็นเป้าหมายในการวางแผน พัฒนาอุตสาหกรรมได้ moore's law เป็น ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวมจำนวนของทรานซิสเตอร์ ต่อตารางนิ้วบน แผงวงจรรวม มีสองเท่าทุกปีตั้งแต่วงจรรวมถูกคิดค้น Moore predicted that this trend would continue for the foreseeable future. มัวร์ที่คาดการณ์ว่าแนวโน้มจะดำเนินต่อไปในอนาคตอันใกล้ ในปีถัดไป, การก้าวชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่ความหนาแน่นของข้อมูลได้เท่าประมาณทุก 18 เดือนMoore's law คืออะไร
กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์ (Moore’s law) ขึ้นซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม
ในปี พ.ศ. 2490 วิลเลียมชอคเลย์และกลุ่มเพื่อนนักวิจัยที่สถาบัน เบลแล็ป ได้คิดค้นสิ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกมาก เป็นการเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิคส์ที่เรียกว่า โซลิดสเตทเขาได้ตั้งชื่อสิ่งที ่ประดิษฐ์ขึ้นมาว่า "ทรานซิสเตอร์" แนวคิดในขณะนั้นต้องการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทำได้ดีด้วยหลอดสูญญากาศแต่หลอดมี ขนาดใหญ่เทอะทะใช้กำลังงานไฟฟ้ามากทรานซิสเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ที่นำมาแทนหลอดสูญญากาศได้เป็นอย่างดีทำให้เกิดอุตสาหกรรมสาร กึ่งตัวนำตามมา และก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ
พ.ศ. 2508 อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวได้แพร่หลาย มีบริษัทผู้ผลิตทรานซิสเตอร์จำนวนมากการประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์ กว้างขวางขึ้น มีการนำมาใช้ในเครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ของใช้ในบ้าน จึงถึงในโรงงานอุตสาหกรรม
การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต ทรานซิสเตอร์แบบ planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบ เทคโนโลยีแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐาน พบว่า บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์
**คําว่า “กฎของมัวร์” นั้นถูกเรียกโดยศาสตราจารย์ Caltech นามว่า Carver Mead
ซึ่งกล่าวว่าจํานวนทรานซิสเตอร์จะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุกๆหนึ่งปี ในช่วงปี 1965 ต่อมามัวร์จึงได้
เปลี่ยนรูปกฎ เพิ่ขึ้นสองเท่าในทุกๆสองปี ในปี 1975
วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
รหัสแทนข้อมูล รหัส ASCII และ รหัส Unicod
รหัส ASCII
เดิมการแทนรหัสฐานสองด้วยพยัญชนะในภาษาต่างๆเป็นการกำหนดกันเอง ขึ้นอยู่กับว่า ใครพัฒนาขึ้นมาทำให้การส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิดไม่สามารถส่งผ่านกันได้ เพราะใช้รหัสในเลขฐานสองไม่เหมือนกัน ดังนั้นเพื่อที่จะให้สื่อสารกันได้ จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดมาตรฐานของรหัสขึ้น สำหรับภาษาอังกฤษ เรียกว่า รหัสแอสกี้ (American Standard Code Interchange , ASCII)
รหัสที่เป็นมาตรฐาน คือ รหัส ASCII
American Standard Code For Information Interchange (ASCII) อ่านว่า แอส-กี้ เป็นรหัสที่พัฒนาขึ้นโดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute: ANSI อ่านว่า แอน-ซาย) เรียกว่า ASCII Code ซึ่งเป็นที่นิยมในกลุ่มผู้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป รหัสนี้ได้มาจากรหัสขององค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ (International Standardization Organization: ISO) ขนาด 7 บิท ซึ่งสามารถสร้างรหัสที่แตกต่างกันได้ถึง 128 รหัส (ตั้งแต่ 000 0000 ถึง 111 1111) โดยกำหนดให้ 32 รหัสแรกเป็น 000 0000 ถึง 001 1111 ทำหน้าที่เป็นสั่งควบคุม เช่น รหัส 000 1010 แทนการเลื่อนบรรทัด (Line Feed)ในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น และอีก 96รหัสถัดไป (32-95) ใช้แทนอักษรและสัญลักษณ์พิเศษอื่น รหัส ASCII ใช้วิธีการกำหนดการแทนรหัสเป็นเลขฐานสิบ ทำให้ง่ายต่อการจำและใช้งาน นอกจากนั้นยังสามารถเขียนมนรูปของเลขฐานสิบหกได้ด้วย ดังนั้น ASCII Code จึงเป็นรหัสที่เขียนได้ 3 แบบ เช่นอักษร A สามารถแทนเป็นรหัสได้ดังนี้
วิธีการอ่านค่าจากตารางแอสกี
1. ชี้ตรงตัวอักษรที่ต้องการแทนรหัส เช่น ก
2. อ่านค่ารหัสในตารางแนวตั้งตรงตำแหน่ง b7 b6 b5 และ b4 ค่าที่ได้ คือ 1010
3. อ่านค่ารหัสในตารางแนวนอนตรงตำแหน่ง b3 b2 b1 และ b0 ค่าที่ได้ คือ 0001
4. ดังนั้นรหัสแทนข้อมูลของตัวอักษร ก คือ 1010 0001
Unicode
ยูนิโค๊ด คือ รหัสคอมพิวเตอร์ใช้แทนตัวอักขระ สามารถใช้แทน ตัวอักษร,ตัวเลข,สัญลักษณ์ต่างๆ ได้มากกว่ารหัสแบบเก่าอย่าง ASCII ซึ่งเก็บตัวอักษรได้สูงสุดเพียง 256 ตัว(รูปแบบ) โดยUnicode รุ่นปัจจุบันสามารถเก็บตัวอักษรได้ถึง 34,168 ตัวจากภาษาทั้งหมดทั่วโลก 24 ภาษา โดยไม่สนใจว่าเป็นแพลตฟอร์มใด ไม่ขึ้นกับโปรแกรมใด หรือภาษาใด Unicode ได้ถูกนำไปใช้โดยผู้นำในอุตสาหกรรม
ตัวอย่าง Unicode
ตัวอย่างการแทนรหัส ASCII
0100 1110 = N
เดิมการแทนรหัสฐานสองด้วยพยัญชนะในภาษาต่างๆเป็นการกำหนดกันเอง ขึ้นอยู่กับว่า ใครพัฒนาขึ้นมาทำให้การส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิดไม่สามารถส่งผ่านกันได้ เพราะใช้รหัสในเลขฐานสองไม่เหมือนกัน ดังนั้นเพื่อที่จะให้สื่อสารกันได้ จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดมาตรฐานของรหัสขึ้น สำหรับภาษาอังกฤษ เรียกว่า รหัสแอสกี้ (American Standard Code Interchange , ASCII)
รหัสที่เป็นมาตรฐาน คือ รหัส ASCII
American Standard Code For Information Interchange (ASCII) อ่านว่า แอส-กี้ เป็นรหัสที่พัฒนาขึ้นโดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute: ANSI อ่านว่า แอน-ซาย) เรียกว่า ASCII Code ซึ่งเป็นที่นิยมในกลุ่มผู้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป รหัสนี้ได้มาจากรหัสขององค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ (International Standardization Organization: ISO) ขนาด 7 บิท ซึ่งสามารถสร้างรหัสที่แตกต่างกันได้ถึง 128 รหัส (ตั้งแต่ 000 0000 ถึง 111 1111) โดยกำหนดให้ 32 รหัสแรกเป็น 000 0000 ถึง 001 1111 ทำหน้าที่เป็นสั่งควบคุม เช่น รหัส 000 1010 แทนการเลื่อนบรรทัด (Line Feed)ในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น และอีก 96รหัสถัดไป (32-95) ใช้แทนอักษรและสัญลักษณ์พิเศษอื่น รหัส ASCII ใช้วิธีการกำหนดการแทนรหัสเป็นเลขฐานสิบ ทำให้ง่ายต่อการจำและใช้งาน นอกจากนั้นยังสามารถเขียนมนรูปของเลขฐานสิบหกได้ด้วย ดังนั้น ASCII Code จึงเป็นรหัสที่เขียนได้ 3 แบบ เช่นอักษร A สามารถแทนเป็นรหัสได้ดังนี้
วิธีการอ่านค่าจากตารางแอสกี
1. ชี้ตรงตัวอักษรที่ต้องการแทนรหัส เช่น ก
2. อ่านค่ารหัสในตารางแนวตั้งตรงตำแหน่ง b7 b6 b5 และ b4 ค่าที่ได้ คือ 1010
3. อ่านค่ารหัสในตารางแนวนอนตรงตำแหน่ง b3 b2 b1 และ b0 ค่าที่ได้ คือ 0001
4. ดังนั้นรหัสแทนข้อมูลของตัวอักษร ก คือ 1010 0001
Unicode
ยูนิโค๊ด คือ รหัสคอมพิวเตอร์ใช้แทนตัวอักขระ สามารถใช้แทน ตัวอักษร,ตัวเลข,สัญลักษณ์ต่างๆ ได้มากกว่ารหัสแบบเก่าอย่าง ASCII ซึ่งเก็บตัวอักษรได้สูงสุดเพียง 256 ตัว(รูปแบบ) โดยUnicode รุ่นปัจจุบันสามารถเก็บตัวอักษรได้ถึง 34,168 ตัวจากภาษาทั้งหมดทั่วโลก 24 ภาษา โดยไม่สนใจว่าเป็นแพลตฟอร์มใด ไม่ขึ้นกับโปรแกรมใด หรือภาษาใด Unicode ได้ถูกนำไปใช้โดยผู้นำในอุตสาหกรรม
ตัวอย่าง Unicode
ตัวอย่างการแทนรหัส ASCII
NATTAWUT SITTIKUL
0100 1110 = N
0100 0001 = A
0101 0100 = T
0101 0100 = T
0100 0001 = A
0101 0111 = W
0101 0011 = U
0101 0100 = T
0100 0000 = SPACE BAR
0101 0011 = S
0010 1001 = I
0101 0100 = T
0101 0100 = T
0010 1001 = I
0010 1101 = K
0101 0011 = U
0010 0011 = L
0101 0011 = U
0010 0011 = L
ใช้พื้นที่จัดเก็บจำนวน 17 byte
แทนด้วยรหัส ASCIIดังนั้น
0100111001000001010101000101010001000001010101110101001101010100010000000101001100101001010101000101010000101001001011010101001100100011
ใช้พื้นที่จัดเก็บจำนวน 136 bit 17 byte
วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
บิตตรวจสอบ(Parity Bit)
- สำหรับบิตตรวจสอบ จะมีวิธีการตรวจสอบอยู่ 2 วิธีด้วยกันคือ
1.การตรวจสอบบิตภาวะคู่ (Even Parity)
2.การตรวจสอบบิตภาวะคี่ (Odd Parity)
วันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2556
ยุคสมัยของคอมพิวเตอร์
ยุคของคอมพิวเตอร์
สามารถแบ่งได้เป็น 5 ยุค ดังนี้ คือ
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)
ยูนิแวค
คอมพิวเตอร์ยุคที่
2
คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น ภาษาระดับสูงนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทำให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะในสำนักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได้ ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสำเร็จให้เลือกใช้กันมากทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5
คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 6
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)
มาร์ค วัน
นิแอค
ยูนิแวค
คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น ภาษาระดับสูงนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทำให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะในสำนักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได้ ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสำเร็จให้เลือกใช้กันมากทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5
คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 6
(ปี ค.ศ. 1990 - ปัจจุบัน) ที่ผ่านมาทั้ง 5 ยุค พัฒนาการของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปในทางการปรับปรุงการผลิต และการ
เสริมสร้างความสามารถทางด้านการคำนวณของคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นการจำกัด
ความสามารถทางด้านการป้อนข้อมูล ในปัจจุบัน ความต้องการทางด้านการป้อนข้อมูลอย่างอิสระ
โดยใช้เสียงและภาพ ซึ่งถือเป็นการป้อนข้อมูลโดยธรรมชาตินั้นสูงขึ้นเรื่อยๆ
ความต้องการคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ไม่เป็นเพียงแต่เครื่องคำนวณ จึงสูงขึ้นเรื่อย ๆ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งความต้องการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ
อุตสาหกรรม เทคโนโลยี การติดต่อระหว่างประเทศและอื่น ๆ
บุคคลต่อไปนี้ มีความสำคัญอย่างไร ในประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์จงอธิบาย โดยระบุถึงปีที่เกิดเหตุการณ์ และผลงานที่สำคัญ
A : Charles Babbage
B : Lady Augusta Ada Byron
C : Hermn Hollerith
E : Konrad Zuse
F : Prof. Howard H.Aiken
G : Dr. John V. Atanasoff & Clifford Berry
H : Dr. John W. Mauchiy & J. Presper Eckert
I : Dr. John Von Neumann
J : Dr. Ted Hoff
K : Steve Jobs & Steve Wazniak
L : Bill Gates
ชาลส์ แบบบิจ : Charles Babbage
เกิดปี ค.ศ. 1791 (พ.ศ. 2334)
ที่อังกฤษ ในครอบครัวของนายธนาคาร
แบบบิจเติบโตมาในยุคที่อังกฤษเป็นมหาอำนาจ และกำลังอยู่ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยรัฐบาลสนับสนุนให้ทุนการพัฒนาในสาขาต่าง
ๆ อย่างเต็มที่. แบบบิจศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ ทรินิตี้
คอลเลจมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ที่คณะคณิตศาสตร์ (Mathematical
Laboratory)
ช่วงเป็นนักศึกษา เขารวมกลุ่มกับเพื่อน ทำ induction
of the Leibnitz notation for the Calculus ขึ้นจนมีชื่อเสียง
ทำให้มหาวิทยาลัยต้องเปลี่ยนหลักสูตรการเรียนการสอน. พอเรียนจบ
แบบบิจก็ตัดสินใจเป็นอาจารย์ต่อที่คณะ. ในปี ค.ศ. 1814,
แบบบิจสมรสกับ
Geogiana Whitmore นักคณิตศาสตร์หญิงคนเก่งคนหนึ่งในยุคนั้น
ในทางคณิตศาสตร์ แบบบิจเน้นศึกษาด้านแคลคูลัสเป็นพิเศษ
ปี ค.ศ. 1816 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น Fellow ของ Royal
Society ปี ค.ศ. 1820 เขาตั้งชมรมด้านดาราศาสตร์ขึ้น พร้อม ๆ
กับเริ่มทำงานวิจัยสำคัญของเขาในยุคต้น ที่ทำให้เขาโด่งดังมากคือ Difference
Engine (ใช้ Newton's method of successive differences) ในปี ค.ศ. 1828 แบบบิจได้รับแต่งตั้งให้เป็น
the Lucasian Chair of Mathematics at Cambridge (เหมือนกับ เซอร์ ไอแซก
นิวตัน และ สตีเฟ่น ฮอว์คิง) ต่อมา แบบบิจขยายงานมาศึกษาเครื่องวิเคราะห์ (Analytical
Engine) เพื่อสร้างเป็น เครื่องจักรที่สามารถรองรับการคำนวณทุกชนิด
(ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นต้นแบบของเครื่องคอมพิวเตอร์)
แต่ก็เป็นเพียงทฤษฎีเท่านั้น เพราะเขาไม่สามารถสร้างออกมาในช่วงที่เขามีชีวิตอยู่
เนื่องจากมีคนไม่เห็นด้วยมากมาย
เพราะความคิดของเขาทันสมัยเกินกว่าเทคโนโลยีในยุคนั้น จนทุก ๆ
คนคิดว่ามันเป็นไปไม่ได้ จึงโดนตัดงบวิจัยในปี ค.ศ. 1832 แต่แบบบิจก็ฝืนทำต่อแบบไม่มีงบประมาณ
จนทำไม่ไหว จนต้องปิดโครงการนี้ไป ในปี ค.ศ. 1842
พอปี ค.ศ. 1856,
แบบบิจก็เริ่มมีฐานะขึ้นมาจากงานอื่นๆ
เพราะนอกจากเป็นนักคณิตศาสตร์แล้ว เค้าก็ยังเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี การเมือง และเศรษฐกิจ อีกด้วย (เป็น
a Celebrated Policial Economist แห่งยุค)
เขาจึงเอาเงินทุนมาลงทุนทำวิจัยด้านเครื่องวิเคราะห์ต่อ
แต่ก็ต้องทำและแก้หลายครั้ง จนเขาเสียชีวิตไปในปี ค.ศ. 1871(แล้วลูกชายเขามาสานต่อ)
ช่วงก่อนตาย เขาเขียนหนังสือชื่อดัง (ดังยุคหลัง) ชื่อ Passages from
the life of a Philosopher เพราะในปีที่เขาเสียชีวิต โลกยังไม่ค่อยรู้จักเขา
เครื่องวิเคราะห์ของเขาไม่มีคนสนใจลงมือสร้างเป็นชิ้นเป็นอัน จนกระทั่งอีกประมาณ 40
ปีต่อมา
หลังจากเขาตาย มีคนเอางานเขาไปเผยแพร่จนเป็นที่ชื่นชม แล้วคนยุคหลังก็นำสมองของเขา
(ที่ดองเอาไว้ในแอลกอฮอล์) มาผ่าเพื่อศึกษาความสามารถในการคิดของเขา
(ถูกนิยามไว้ว่าเป็น one of the most profound thinker of the century)
ตลอดเวลาที่มีชีวิตอยู่ แบบบิจเชื่อว่า
โลกเรานี้สามารถวิเคราะห์ทำนายได้ (a world where all things were
dutifully quantified and could be predicted) โดยได้รับความสนับสนุนจาก Laplace ซึ่งเป็นเพื่อนสนิทในวงการว่า
ถ้าจิตใจมนุษย์สามารถเข้าใจพฤติกรรมของอนุภาคเล็กๆ มันจะอธิบายทุกอย่างได้ (if
a mind could know everything about particle behavior, if could describe
everything: nothing would be uncertain, and the future, as the past, could be
present to our eyes) ปี ค.ศ. 1856, แบบบิจเสนองาน "Table of Constants
of the Nature and Art" ที่อ้างว่า รวบรวมข้อเท็จจริงทุกอย่าง
สำหรับอธิบายศาสตร์ทางวิทย์และศิลป์ ด้วยตัวเลข
แบบบิจชอบไฟมาก ขนาดลองเอาเตาอบมาอบตัวเองเล่นที่
265 องศาฟาเรนไฮต์เป็นเวลา 5-6 นาที หรือพยายามปีนภูเขาไฟเวซูเวียส
เพื่อที่จะไปดูลาวาเดือด ๆ
เอดา
ไบรอน เลิฟเลซ (Lady
Augusta Ada Byron, Countess of Lovelace)
เขาเป็นลูกสาวของลอร์ด
ไบรอน (Lord
Byron) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2358 (ค.ศ. 1815) และพ่อแม่ของ Ada Lovelace ก็ต้องแยกทางกัน
แม่เขาเลี้ยง Ada Lovelace แบบหญิงสมัยใหม่และให้ Ada
Lovelace ศึกษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ซึ้งไม่เหมือนกับหญิงทั่วๆไปจากตระกูลอื่นๆ ที่ประเทศอังกฤษพอ Ada
Lovelace อายุได้ประมาณ 17 ปี เขาได้รู้จักกับ Mrs. Somerville แห่งเคมบริดจ์
ผู้หญิงเก่งแห่งยุค ที่เคยแปลงานของ Laplace มาเป็นภาษาอังกฤษ
และสุดท้ายก็ได้รู้จักกับ ชาลส์ แบบบิจ ในงานสังสรรค์แห่งหนึ่ง
ในงานวันนั้น แบบบิจกล่าวว่า "what if a calculating engine could not
only foresee but could act on that foresight" (จะเป็นอย่างไร
ถ้าหากเครื่องคำนวณไม่เพียงสามารถหยั่งรู้ได้
หากแต่สามารถตอบสนองต่อการหยั่งรู้นั้นได้ด้วย) ไม่มีใครสนใจแนวคิดนี้เลย ยกเว้น Ada
Lovelace และเธอสนใจในงานนี้มาก
และได้ช่วยพัฒนาเคื่องวิเคราะห์ของแบบบิจและหลังจากนั้น Ada Lovelace ได้แต่งงานกับ เอิร์ลแห่ง เลิฟเลซ
และมีบุตรด้วยกันสามคน
ต่อมา
แผนการทำงานของแบบบิจที่เขียนขึ้นมาชิ้นนั้น
ก็ได้ถูกยกย่องว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกของโลก Ada Lovelace จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก เอดาก็ช่วยเขียนบรรยาย รายละเอียดการทำงานของเครื่องวิเคราะห์ แต่ Ada Lovelace สุขภาพไม่ค่อยดี และสุดท้ายก็เสียชีวิตด้วยวัยเพียง 36 ปีเท่านั้น
ที่เมือง Marylebone, London อังกฤษ
C : Hermn Hollerith
ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริช (Dr.Herman Hollerith)
ในปี พศ. 2493 ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริช นักประดิษฐ์ชาวอเมริกิน
ได้ประดิษฐ์เครื่องประมวลผลทางสถิติ ที่เรียกว่า Tabulating Machine ซึ้งเครื่องนี้ได้นำมาใช้กับบัตรเจาะรู
และนำมาใช้กับงานประมาลข้อมูลสำมะโนประชากร ในประเทศสหรัฐอเมริกา ต่อมา
ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริช ได้นำเอาหลักการของ Jacquard มาดัดแปลงให้เข้ากับบัตร์ที่ตนเองผลิตขึ้น
บัตรนี้เรียกว่า "บัตรฮอลเลอริธ"
ซึ่งถือเป็นรหัสภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ บัตรเจาะของดร.เฮร์แมน ฮอลเลอริช
ได้พัฒนามาจนถึงปัจจุบัน ที่เรียกว่า บัตรไอบีเอ็ม (IBM. Card) หรอ บัตร 80 คอลัมน์
( IBM. Card )
D : Konrad Zuse
ในปี
พ.ศ.2489
ทัวริงคิดโครงการ เครื่องคำนวณ (computation machine) ที่สามารถเปลี่ยนได้ ตามใจชอบ จาก numerical work เป็น
algebra เป็น code breaking เป็น file
handling หรือแม้กระทั่งเกมส์ ปี พ.ศ.2517 ทัวริง
เสนอว่าต้องมีระบบจัดเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์ ต้องขยายตัว
เป็นชุดคำสั่งย่อยๆ โดยใช้รูปย่อแบบ รหัสย่อ (ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น ของภาษาโปรแกรม)
แต่ไม่ได้รับการสนับสนุน เขาจึงพักงาน ด้านคณิตศาสตร์ ไม่ทำงานด้านเทคโนโลยี
แต่เปลี่ยนไปสนใจเรื่อง”neurology” กับ “physiology sciences”
และออกบทความเรื่อง "เครือข่ายประสาท"
ต่อ
มาทีมงานเก่าของทัวริง ที่ย้ายไปอยู่ ที่มหาวิทยาลัย แมนเชสเตอร์ ได้เชิญเขาไปเป็น
หัวหน้าภาควิชาใหม่ โดยเน้นงาน ด้านซอฟแวร์ พร้อมกับออกบทความ วิชาการเรื่อง
"Computer
Machine and Intelligence" ซึ่งนับว่า เป็นรากฐาน
ของแนวคิดพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ ในวงการคอมพิวเตอร์ และในปี พ.ศ.2494 ทัวริงออกบทความเรื่อง "The Chemical Basis of
Morphogenesis"
โดยผลงานเด่นๆ
ของเขา เช่น การคิดโมเดล ที่สามารถทำงานได้ เทียบเท่ากับคอมพิวเตอร์
ซึ่งใช้คำสั่งพื้นฐานง่ายๆ เพียง เดินหน้า ถอยหลัง เขียนและลบ รวมทั้งรูปแบบ
ที่เป็นทางการคณิตศาสตร์ ของการระบุอัลกอริทึมและการคำนวณ ด้วยเครื่องจักรทัวริง
Zuse
สร้างคอมพิวเตอร์ Z1เสร็จเครื่องใน 1,938. มันเป็นกลทั้งหมดมีหน่วยคำนวณประกอบด้วยจำนวนมากสวิตช์เครื่องกลและหน่วยความจำประกอบด้วยชั้นของแถบโลหะระหว่างชั้นของกระจก.
หนึ่งในคุณสมบัติใหม่ที่สุดของมันแล้วว่าจะเป็นโปรแกรมโดยเทป punched. เหตุผลหลักว่าทำไม Zuse ประสบความสำเร็จในการสร้างคอมพิวเตอร์กลของเขาที่
Babbage ได้ล้มเหลวคือความจริงที่ Z1 Zuse ของเป็นเครื่อง binary สองตำแหน่งสวิทช์เพื่อแสดง 0
และ 1. แต่กล่าว Zuse ที่ประสบความสำเร็จกับ
Z1 เป็นบิตของการพูดเกินจริงสำหรับเครื่องไม่ได้ดี.
หน่วยความจำที่มีคุณสมบัติสำเร็จวิธีการที่คำสั่งถูกส่งผ่านเชื่อมโยงกลไม่สำเร็จ.
โฮเวิร์ด เอช ไอเคน (Professor Howard H. Aiken) ศาสตราจารย์ทางคณิตศาสตร์
แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard) เป็นผู้ออกแบบและสร้างเครื่องคำนวณตามหลักการของแบบเบจได้สำเร็จ
โดยนำเอาแนวคิดของ Jacquard และ Hollerith มาใช้ในการสร้างและได้รับการสนับสนุนจากวิศวกรของบริษัทไอบีเอ็ม
สร้างสำเร็จในปี ค.ศ. 1943 ในชื่อว่า Automatic
Sequence Controlled Calculator (ASCC) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า MARK
I Computer นับเป็นเครื่องคำนวณเครื่องแรกของโลกที่ทำงานโดยอัตโนมัติทั้งเครื่อง
จัดเป็น Digital Computer และเป็นเครื่องที่ทำงานแบบ Electromechanical
คือเป็นแบบ กึ่งไฟฟ้ากึ่งจักรกล
การส่งคำสั่งและข้อมูลเข้าไปในเครื่อง ใช้เทปกระดาษเจาะรู เครื่องมีขนาดใหญ่มาก ประกอบด้วยชิ้นส่วนต่าง ๆ ประมาณ 7 แสนชิ้น ใช้สายไฟยาวกว่า 500 ไมล์ ความยาวเครื่อง 55 ฟุต สูง 8 ฟุต กว้าง 3.5 ฟุต
ใช้เวลาในการบวกหรือลบประมาณ 1/3 วินาที การคูณ 5 วินาที การหาร 16 วินาที นับว่าช้ามากถ้าเทียบกับปัจจุบัน เครื่อง MARK I ถูกนำมาใช้ทำงานตลอดวันตลอดคืนนานถึง 15 ปีเต็ม MARK I ยังไม่ใช่เครื่องคอมพิวเตอร์ตามแนวความคิดในปัจจุบันอย่างแท้จริง เป็นเพียงเครื่องคิดเลขไฟฟ้าขนาดใหญ่เท่านั้น แต่ถือว่าเป็นสิ่งที่น่าภูมิใจในขณะนั้น
การส่งคำสั่งและข้อมูลเข้าไปในเครื่อง ใช้เทปกระดาษเจาะรู เครื่องมีขนาดใหญ่มาก ประกอบด้วยชิ้นส่วนต่าง ๆ ประมาณ 7 แสนชิ้น ใช้สายไฟยาวกว่า 500 ไมล์ ความยาวเครื่อง 55 ฟุต สูง 8 ฟุต กว้าง 3.5 ฟุต
ใช้เวลาในการบวกหรือลบประมาณ 1/3 วินาที การคูณ 5 วินาที การหาร 16 วินาที นับว่าช้ามากถ้าเทียบกับปัจจุบัน เครื่อง MARK I ถูกนำมาใช้ทำงานตลอดวันตลอดคืนนานถึง 15 ปีเต็ม MARK I ยังไม่ใช่เครื่องคอมพิวเตอร์ตามแนวความคิดในปัจจุบันอย่างแท้จริง เป็นเพียงเครื่องคิดเลขไฟฟ้าขนาดใหญ่เท่านั้น แต่ถือว่าเป็นสิ่งที่น่าภูมิใจในขณะนั้น
G : Dr. John V. Atanasoff & Clifford Berry
เครื่อง ABC
(Atanasoff – Berry – Computer) ในปี ค.ศ.1942 ดร.จอห์น วี
อตานาซอฟฟ์ ( John V. Atanasoff) อาจารย์สาขาฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา
( Iowa State University) ได้ร่วมมือกับลูกศิษย์ของเขาคือ
คลิฟฟอร์ด เบอร์รี่ (Clifford Berry) สร้างเครื่องมือที่อาศัยการทำงานของหลอดสุญญากาศเพื่อนำมาช่วยในงานประมวลผลทั่วไป
โดยเรียกเครื่องคอมพิวเตอร์นี้ว่า เครื่อง “ABC” (เป็นการตั้งชื่อโดยนำเอาชื่อของทั้งสองมารวมกันคือ
Atanasoff และ Berry)
H : Dr. John W. Mauchiy & J. Presper Eckert
ในปี 1944 John von Neumann ได้รับการชักชวนเข้าร่วมโครงการ ENIAC ระยะเวลาดังกล่าว
กลุ่มนักวิจัยที่ทำงานได้มีการพูดคุยถึง วิธีการปรับปรุงการเขียน และบรรจุ
โปรแกรมเข้าไปในเครื่อง และถึงแนวคิดของ Store Program จากการปรึกษาดังกล่าว
John von Neumann ได้นำความคิดดังกล่าวมาตกผลึก
และเขียนบันทึก แนวคิดของ Store Program เรียกว่า EDVAC
(Electronic Discrete Variable Automatic Computer) จากนั้น Herman
Goldstine ได้แจกจ่ายบันทึกดังกล่าวโดยมีชื่อของ John von
Neumann เพียงชื่อเดียว มิได้ใส่ชื่อของ J. Presper Eckert และ John Mauchly ที่มีส่วนหลักในการทำงานด้วย
บันทึกดังกล่าวเป็นที่มาของคำว่า von Neumann Computer ผู้บุกเบิกในสายของวิชาการคอมพิวเตอร์เป็นจำนวนมากเห็นว่าการแจกจ่ายบันทึกดังกล่าว
ที่ทำให้เกิดความเข้าใจเรื่องคำว่า ``von Neumann Computer'' เป็นการให้เกียรติ J. Presper Eckert และ John Mauchly ที่เป็นวิศวกรที่เป็นส่วนหลักในโครงการ
ENIAC น้อยเกินไป และเป็นการให้เกียรติ John von
Neumann มากเกินไป
พ.ศ. 2492 Dr. John Von Neumann ได้พบวิธีการเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยความจำของเครื่องได้สำเร็จ
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถุฏพัฒนาขึ้นตามแนวคิดนี้ได้แก่ EDVAC (Electronic
Discrete Variable Automatic Computer) และนำมาใช้งานจริงในปี 2494
และในเวลาเดียวกันมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ก็ได้มีการสร้างคอมพิวเตอร์ในลักษณะคล้ายกับเครื่อง
EDVAC นี้ และให้ชื่อว่า EDSAC (Electronic Delay
Strorage Automatic Calculator) มีลักษณะการทำงานเหมือนกับ EDVAC
คือเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยความจำ แต่มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างออกไปคือ
ใช้เทปแม่เหล็กในการบันทึกข้อมูลต่อมา ศาสตราจารย์แอคเคิทและมอชลี
ได้ร่วมมือกันสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์อีก ชื่อว่า UNIVAC I (Universal
Automatic Calculator) ซึ่งผลิตขึ้นมาเพื่อขายหรือเช่า
เป็นเครื่องแรกที่ออกสู่ตลาดซึ่งทำให้คอมพิวเตอร์ขยายตัวออกไปในภาคเอกชน
และเริ่มมีการซื้อขายคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานกันอย่างแพร่หลาย
และวิวัฒนาการเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
ดร. เท็ด ฮอฟฟ์ (Ted Hoff) แห่งบริษัทอินเทล (Intel
Corporation) ได้พัฒนาชิพที่มีขนาดเล็กมาก จึงได้ชื่อว่าไมโครโพรเซสเซอร์ ชื่อรุ่นคือ Intel 4004 เป็นหน่วยประมวลผลขนาดเล็กที่สามารถโปรแกรมได้
คอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิพขนาดเล็กนี้เจึงถูกรียกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ด้วย
K : Steve Jobs & Steve Wazniak
ปี
1970 วอซเนียกได้รู้จักกับสตีฟ
จ๊อบส์ เนื่องจากมีงานฤดูร้อนในธุรกิจเดียวกัน และกลายเป็นเพื่อนกันในที่สุด
จ๊อบส์และวอซเนียกได้ขาทรัพย์สินบางส่วนได้เงินประมาณ 1,300 เหรียญ
และได้ร่วมกันประกอบคอมพิวเตอร์ต้นแบบซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นของแอปเปิ้ล
1 เมษายน 1976 จ๊อบส์และวอซเนียกก็ได้ก่อตั้ง Apple Computer โดยที่วอซเนียกได้ลาออกจากงานของเขาที่ Hewlett-Packard และทำงานในแผนกการวิจัยและการพัฒนาที่แอปเปิ้ล ผลิตภัณฑ์แรกของพวกเขาคือให้
คอมพิวเตอร์ Apple I ในยุคที่คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลส่วนใหญ่จะใช้ในเชิงพาณิชย์ โดยจ๊อบส์และว๊อซเนียกได้ขายคอมพิวเตอร์ 100 เครื่องแรกให้กับ Paul Terrell ในการเปิดร้านคอมพิวเตอร์ใหม่ที่มีชื่อว่า Byte Shop ในเมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย
ปี 1980 แอปเปิ้ลเป็นที่โด่งดังและทำให้จ๊อบส์และวอซเนียกกลายเป็นมหาเศรษฐี โดยสตีฟ จ๊อบส์ได้อนุญาตที่จะให้พนักงานบางส่วนของได้ซื้อหุ้นของ Apple ดั้งนั้นวอซเนียกจึงตัดสินใจที่จะแบ่งหุ้นส่วนหนึ่งของตนออกไป
ปี 1983 เขาตัดสินใจกลับไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับแอปเปิ้ล แต่เขาไม่ต้องการบทบาทในบริษัทฯมากไปกว่าของวิศวกรคอมพิวเตอร์
วอซเนียกได้สิ้นสุดการเป็นพนักงานจ้างเต็มเวลากับ Apple ในวันที่ 6กุมภาพันธ์ 1987 เป็นเวลากว่า 12 ปีหลังจากการก่อตั้งบริษัท แต่ถึงกระนั้นเขาก็ยังเป็นผู้ถือหุ้นและกรรมการบริหารบริษัท
1 เมษายน 1976 จ๊อบส์และวอซเนียกก็ได้ก่อตั้ง Apple Computer โดยที่วอซเนียกได้ลาออกจากงานของเขาที่ Hewlett-Packard และทำงานในแผนกการวิจัยและการพัฒนาที่แอปเปิ้ล ผลิตภัณฑ์แรกของพวกเขาคือให้
คอมพิวเตอร์ Apple I ในยุคที่คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลส่วนใหญ่จะใช้ในเชิงพาณิชย์ โดยจ๊อบส์และว๊อซเนียกได้ขายคอมพิวเตอร์ 100 เครื่องแรกให้กับ Paul Terrell ในการเปิดร้านคอมพิวเตอร์ใหม่ที่มีชื่อว่า Byte Shop ในเมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย
ปี 1980 แอปเปิ้ลเป็นที่โด่งดังและทำให้จ๊อบส์และวอซเนียกกลายเป็นมหาเศรษฐี โดยสตีฟ จ๊อบส์ได้อนุญาตที่จะให้พนักงานบางส่วนของได้ซื้อหุ้นของ Apple ดั้งนั้นวอซเนียกจึงตัดสินใจที่จะแบ่งหุ้นส่วนหนึ่งของตนออกไป
ปี 1983 เขาตัดสินใจกลับไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับแอปเปิ้ล แต่เขาไม่ต้องการบทบาทในบริษัทฯมากไปกว่าของวิศวกรคอมพิวเตอร์
วอซเนียกได้สิ้นสุดการเป็นพนักงานจ้างเต็มเวลากับ Apple ในวันที่ 6กุมภาพันธ์ 1987 เป็นเวลากว่า 12 ปีหลังจากการก่อตั้งบริษัท แต่ถึงกระนั้นเขาก็ยังเป็นผู้ถือหุ้นและกรรมการบริหารบริษัท
วิลเลียม
เฮนรี เกตส์ ที่สาม (เกิด 28
ตุลาคม ค.ศ. 1955) หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อ บิล เกตส์เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกัน และหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์
เขากับผู้บุกเบิกด้านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคนอื่น ๆ ได้ร่วมกันเขียนต้นแบบของภาษาอัลแตร์เบสิก ซึ่งเป็นอินเตอร์เพรเตอร์สำหรับเครื่องอัลแตร์ 8800 (เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในยุคแรกๆ) เขาได้ร่วมกับพอล แอลเลน ก่อตั้งไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชันขึ้น ซึ่งในขณะนี้เขาดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการบริหาร และหัวหน้าสถาปนิกซอฟต์แวร์ นิตยสารฟอบส์ได้จัดอันดับให้
บิล เกตส์ เป็นบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกหลายปีติดต่อกัน
วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556
สถานที่ ท่องเที่ยงจังหวัดระนอง
คอคอดกระ, จังหวัดระนอง
คอคอดกระ หรอ กิ่งกระ อยู่ในเขตบ้านทับหลี กิโลเมตรที่ 545 ของทางหลาวหมายเลข 4 ห่างจากเทศบาลเมือง 66 กิโลเมตร บริเวณนี้เป็นส่วนที่แคบที่สุดของแหลมมลายู
โดยมีระยะจากฝั่ง ทะเลตะวันตกจรดตะวันออก กว้างเพียง 44 กิโลเมตร มีแผ่นป้ายคอนกรีดขนาดใหญ่จำลองแผนที่ แสดงจุด ที่ตั้งของคอคอดกระ ซึ่งเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวนิยมมาถ่ายรูปเป็นที่ระลึกมากแห่งหนึ่งของจังหวัดระนอง และยังสามารถชมวิวทิวทัศน์ของแม่น้ำกระบุรี "ซึ่งแบ่งพรมแดนไทย-พม่า ได้อย่างชัดเจน"
แผนที่ดาวเทียม
ขอขอบคุณข้อมูลจาก http://www.thai-tour.com/thai-tour/south/ranong/data/place/pic_kra_isthmus.htm
ข้อมูลเกี่ยวกับผม
สวัสดีครับ
ขอต้อมรับทุกท่านเข้าสู่ บล็อกของผม
ผมชื่อ นายณัฐวุฒิ สิทธิกุล นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต คณะวิทยาการจัดการ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
- ชื่อเล่น : วุฒิ
- อายุ : 19 ปี
- ที่อยู่ : 152/7 หมู่ 2 ตำบลบางริ้น อำเภอเมือง จังหวัดระนอง 85000
การศึกษา
- จบชั้นประถมศึกษา ( อนุบาล - ป.6 ) จาก โรงเรียนอนุบาลระนอง
- จบชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น (ม.1 - ม.3 ) จาก โรงเรียนสตรีระนอง
- จบชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จาก วิทยาลัยเทคนิคระนอง
- ตอนนี้กำลังศึกษา ระดับ ปริญญาตรี ที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต คณะวิทยาการจัดการ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
งานอดิเรก
- เล่นเกม Computer
- เป็นผู้ดูแลเว็บไซค์กับเพื่อนๆ ที่รู้จักกัล ที่เว็บ http://misaka-kaze.com/forum.php
- สะสมหนังสือการตูน (ถ้ามีเงินซื้อ)
- ดู Anime
ขอต้อมรับทุกท่านเข้าสู่ บล็อกของผม
ผมชื่อ นายณัฐวุฒิ สิทธิกุล นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต คณะวิทยาการจัดการ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
- ชื่อเล่น : วุฒิ
- อายุ : 19 ปี
- ที่อยู่ : 152/7 หมู่ 2 ตำบลบางริ้น อำเภอเมือง จังหวัดระนอง 85000
การศึกษา
- จบชั้นประถมศึกษา ( อนุบาล - ป.6 ) จาก โรงเรียนอนุบาลระนอง
- จบชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น (ม.1 - ม.3 ) จาก โรงเรียนสตรีระนอง
- จบชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จาก วิทยาลัยเทคนิคระนอง
- ตอนนี้กำลังศึกษา ระดับ ปริญญาตรี ที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต คณะวิทยาการจัดการ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
งานอดิเรก
- เล่นเกม Computer
- เป็นผู้ดูแลเว็บไซค์กับเพื่อนๆ ที่รู้จักกัล ที่เว็บ http://misaka-kaze.com/forum.php
- สะสมหนังสือการตูน (ถ้ามีเงินซื้อ)
- ดู Anime
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)